TRC-EID
RELATED NEWS
-
"งานวิจัยค้างคาวและความพร้อมของห้องแล็บหนุนเสริมการรับมือกับไวรัสของไทย "
(บทความแปลมาจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ) ต้นฉบับภาษาอังกฤษเขียนโดย มณฑิรา นาควิเชียร เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อสารองค์กร องค์การอนามัยโลก แปลโดย สุวิมล สงวนสัตย์ -
Prioritizing diseases for research and development in emergency contexts
Worldwide, the number of potential pathogens is very large, while the resources for disease research and development (R&D) is limited. To ensure efforts under WHO’s R&D Blueprint are focused and productive, a list of diseases and pathogens are prioritized for R&D in public health emergency contexts. -
‘หมอธีระวัฒน์’ แชร์ความชอกช้ำแพทย์ใช้ทุน รพ.ชุมชน งานล้นมือ ถูกแพทย์อาวุโสเอาเปรียบ
‘หมอธีระวัฒน์’ แชร์ความชอกช้ำแพทย์ใช้ทุน รพ.ชุมชน งานล้นมือ บางคืนไม่ได้นอน ถูกแพทย์อาวุโสเอาเปรียบ แนะ สธ.ปรับปรุงนโยบาย วันที่ 17 พฤศจิกายน นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ประเด็น “ความชอกช้ำ ของแพทย์ใช้ทุนโรงพยาบาลชุมชน” โดยระบุว่า -
“ธีระวัฒน์”ชี้วิกฤตโควิดทำให้ตาสว่าง ทุกประเทศนำสิ่งที่ดีที่สุดมาปรับแต่งเข้ากับสถานการณ์
นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊กหัวข้อ“วิกฤติโควิด ทำให้ตาสว่าง”ระบุว่า พื้นฐานที่ดี การปรับตัวฉับไว การบริหาร เราตาสว่างหรือยัง จากการดูรอบตัวทุกประเทศนำสิ่งที่ดีที่สุด ถูกที่สุด เร็วที่สุด มาปรับแต่งเข้ากับบริบท และสถานการณ์ของประเทศไทย และหลีกเลี่ยงไม่ทำตามสิ่งที่คนอื่นและเราเองผิดพลาดและทำซ้ำอีก -
สมองเสื่อม ต้องสู้ต่อมีทางแล้ว
ทำไมว่าหนักสาหัส เพราะประชากรไทยเข้าสู่ยุคสูงวัย มีสัดส่วนที่น่ากังวล และคำว่าสูงวัยในปัจจุบันอาจจะใช้อายุตามวัน เดือน ปีเกิดไม่ได้ เพราะสมองของแต่ละคนมีต้นทุนต่างกัน นั่นคือถูกกำหนดจากชะตาชีวิตหรือยีนส่วนหนึ่ง แต่มีตัวที่ทำให้ต้นทุนหายกำไรหด จากโรคนานาชนิด อ้วนลงพุง ขาดการออกกำลัง เบาหวาน ความดัน ไขมัน ส่งผลไปถึงความบกพร่องไม่สมบูรณ์ของระบบเส้นเลือดและหัวใจ