Our Service
ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
LABORATORY
FORM
QIAstat-Dx® LAB
FORM
LAB CONTROL
SYSTEM
LATEST NEWS
โรคเมลิโออิโดซิส (meiloidosis) - ประเทศไทย: เพิ่มขึ้น
สำนักระบาดวิทยารายงานผู้ป่วยโรคเมลิออยโดสิสเพิ่มขึ้นร้อยละ 61 ในปีที่แล้ว [2565] เมื่อเทียบกับรายงานในปี 2564 อ่านเพิ่มเติมวัคซีน mRNA: ผลของการฉีดกระตุ้นมากเข็ม เกินไปในยุคโอไมครอน.
เป็นการอธิบายว่าเมื่อมีการฉีด mRNA วัคซีน มากขึ้น ประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อและการกันอาการหนักจะยิ่งลดลงกว่าที่คิดและน่าจะอธิบายถึงว่าทำไมในยุคโอไมครอน จึงมีการติดซ้ำอยู่เรื่อยๆ เมื่อมีการฉีดมากเข็มขึ้น… See more อ่านเพิ่มเติมวัคซีนมีประโยชน์แต่ข้อมูลในรายละเอียดต่างๆนั้น ต้องมีการรับทราบรอบด้านอย่างถี่ถ้วน
ข้อมูลต่างๆนี้ นำมาจากหลักฐานของบริษัท ไฟเฮอร์ และของทางการ ประเทศอังกฤษ และจากรายงานในวารสาร วัคซีน vaccine 2022 อ่านเพิ่มเติม# PSITTACOSIS - อาร์เจนตินา: ไข้นกแก้ว [Promed]
ในประเทศอาร์เจนตินา ผู้ใหญ่ 4 คนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคปอดอักเสบซึ่งเกิดจากโรคซิตตะโคสิส ซึ่งเป็นโรคที่ติดเชื้อจากนกแก้วที่ผู้ป่วยรายหนึ่งพากลับบ้านเมื่อไม่กี่วันก่อนที่อาการแรกจะปรากฏ อ่านเพิ่มเติม# CORONAVIRUS DISEASE 2019 UPDATE: อินเดีย: วัคซีน COVID-19 ทางจมูก [BBC]
อินเดียอนุมัติวัคซีนป้องกันโควิดทางจมูกตัวแรกที่ผลิตโดย Bharat Biotech คือ iNCOVACC ซึ่งอยู่ในรูปของยาหยดและกระตุ้นการตอบสนองของภูมิคุ้มกันในเนื้อเยื่อที่โพรงจมูก อ่านเพิ่มเติมสายพันธุ์ย่อยโควิดปี 2566
ทั้งนี้ การประเมินไม่ได้อยู่ที่ตัวไวรัสอย่างเดียว อย่างที่ได้จากข้อมูลของหลอดทดลองทางห้องปฏิบัติการหรือสัตว์ทดลอง ซึ่งสามารถทำให้เกิดความรุนแรงในด้านการติดและการเกิดอาการหนัก อ่านเพิ่มเติมวิตามินบี 6 มากไป เส้นประสาทอักเสบ
หมอทั่วไปโดยเฉพาะหมอทางสมองและระบบประสาท เริ่มสงสัย สังเกตและจับตามองภาวะผิดปกติของเส้นประสาทที่อธิบายไม่ได้ ทั้งนี้จากการที่ไม่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง ไม่ได้ผอมแห้งแรงน้อย ขาดอาหาร หรือมีโรคตับ อ่านเพิ่มเติมงูสวัด..มีเรื่องต่อตามด้วยอัมพฤกษ์และหัวใจวาย
เริ่มตั้งแต่ในปี 2014 ที่ได้เห็นรายงานในวารสาร โรคติดเชื้อทางคลินิก (clinical infectious disease) ถึงการติดตามคนไข้ที่เป็นงูสวัดและการเกิดมีเส้นเลือดในสมองผิดปกติเป็นอัมพฤกษ์ ในช่วงระหว่างปี 1987 ถึง 2012 จากจำนวน 6,584 ราย พบอัมพฤกษ์เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะภายในช่วงหกเดือนหลังจากที่เกิดงูสวัดแล้วค่อยๆลดลงเรื่อยๆในช่วงหกเดือนถัดมา ผู้ที่อยู่ในการติดตาม ส่วนใหญ่มีอายุ 70 ขึ้น ตำแหน่งที่ดูจะมีความสำคัญเกี่ยวเนื่องกับการเกิดอัมพฤกษ์จะเป็… See more อ่านเพิ่มเติม# HUMAN ENTEROVIRUS D68 - ไต้หวัน [Taiwan CDC]
จากข้อมูลการติดตามของ Taiwan CDC ณ วันที่ 6 ก.พ. 2566 สัปดาห์ที่แล้ว [29 ม.ค. ถึง 4 ก.พ. 2566] มีผู้ป่วยนอกและการเข้ารับการตรวจที่ห้องฉุกเฉินรวมทั้งสิ้น 1,330 รายเนื่องจากไวรัสเอนเทอโรในไต้หวัน เทียบกับสัปดาห์ก่อนเพิ่มขึ้น 42.6% อ่านเพิ่มเติมไข่แดงและเนื้อแดงจะเอายังไงแน่… กินแต่น้อยหรือกินไม่อั้น
การศึกษาในวารสารของสมาคมแพทย์สหรัฐฯ ปี 1999 ติดตามผู้ชายจำนวน 37,851 ราย (อายุ 40-75 ปี) และผู้หญิง 80,082 ราย (34-59 ปี) เป็นเวลา 8-14 ปี โดยแรกเริ่มไม่มีใครมีโรคประจำตัวทางหัวใจ เบาหวาน ไขมันสูง หรือมะเร็ง พบว่ามีผู้ชาย 1,124 และผู้หญิง 1,502 ราย เจ็บป่วยล้มตายด้วยโรคหัวใจและอัมพฤกษ์ แต่ไม่มีความสัมพันธ์ชัดเจนกับปริมาณไข่แดงที่บริโภค ยกเว้นแต่ในผู้ป่วยเบาหวาน อ่านเพิ่มเติม"FDA ถอนการอนุญาตสำหรับการรักษา COVID-19 ของ AstraZeneca Evusheld"
"FDA ถอนการอนุญาตสำหรับการรักษา COVID-19 ของ AstraZeneca Evusheld" อ่านเพิ่มเติมโรคเมลิโออิโดซิส (meiloidosis) - ประเทศไทย: เพิ่มขึ้น
#โรคเมลิโออิโดซิส (meiloidosis) - ประเทศไทย: เพิ่มขึ้น สำนักระบาดวิทยารายงานผู้ป่วยโรคเมลิออยโดสิสเพิ่มขึ้นร้อยละ 61 ในปีที่แล้ว [2565] เมื่อเทียบกับรายงานในปี 2564 จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคในปี พ.ศ. 2565 มีรายงานผู้ป่วยโรคเมลิออยโดสิส 3559 ราย จาก 70 จังหวัดของประเทศไทย 77 จังหวัด คิดเป็นอัตราป่วย 5.38 ต่อประชากรแสนคน เพิ่มขึ้นจาก 2,206 รายจาก 63 จังหวัดในปี 2564 นอกจากนี้ มีผู้เสียชีวิต 97 รายในปี 2565 เทียบกับ 6 รายในปี 2564 โรคเมลิออยโดสิสเกิดจากการสัมผัสโดยตรงกับ _Burkholderia pseudomallei_ ซึ่งพบในดินและน้ำที่ปนเปื้อน คำแนะนำสำคัญสำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อโรคเมลิออยโดสิส: 1. ปกป้องผิวหนังจากการสัมผัสกับดินหรือน้ำโคลน 2. หลีกเลี่ยงการเดินลุยน้ำที่ท่วมและการทำงานกับดินระหว่างหรือหลังเหตุการณ์สภาพอากาศรุนแรง/ฝนตกหนัก สวมรองเท้าบูทกันน้ำ 3. ดื่มน้ำสะอาด อ่านเพิ่มเติมชิคุนกุนยา (chikungunya) - ประเทศไทย: เพิ่มขึ้น
# ชิคุนกุนยา (chikungunya) - ประเทศไทย: เพิ่มขึ้น เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของไทยรายงานการติดเชื้อชิคุนกุนยาเพิ่มขึ้นสองเท่าในปี พ.ศ. 2565 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า [พ.ศ. 2564] เจ้าหน้าที่รายงานผู้ป่วยทั้งหมด 1,370 รายใน 48 จังหวัดในปี 2565 เทียบกับ 671 รายใน 39 จังหวัดในปี 2564 หรือเพิ่มขึ้น 104% ไม่มีรายงานการเสียชีวิตในปีใด [2021 และ 2022] ชิคุนกุนยาเป็นโรคไวรัสที่ติดต่อสู่คนผ่านการกัดของยุงที่ติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา อาการที่พบได้บ่อยที่สุดคือมีไข้ขึ้นทันทีทันใด มักมีอาการปวดข้อร่วมด้วย อาการอื่นๆ ได้แก่ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ เหนื่อยล้า และมีผื่นขึ้น ภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงนั้นพบได้ไม่บ่อย แต่กรณีที่รุนแรงผิดปกติอาจทำให้เกิดอาการในระยะยาวและถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ อ่านเพิ่มเติมมนุษย์จะทำอย่างไร อยู่ใต้ฟ้า...ร่วมโควิด
ทำอย่างไร...จะอยู่ฟ้าเดียวกันกับ โควิดได้ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หรือ “หมอดื้อ” คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้มุมมองสรุปสั้นๆไว้ว่า สู้กับโควิด...ไม่มีสูตรใดสูตรหนึ่งเป็นสูตรสำเร็จ คนต้องมีสุขภาพดี วัคซีนไม่ถึงกับต้องมากมายนัก อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ โพสต์ แก่แล้วกินยาแก้แพ้ อาจสมองพัง
27 ธ.ค. 2565 – ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า แก่แล้วกินยาแก้แพ้ อาจสมองพัง อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ เผยผลวิจัย "วัคซีนโควิด" mRNA ก่อให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบรุนแรงทำหัวใจหยุดเต้นกะทันหันมีแนวโน้มความรุนแรงสูงขึ้น
ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ให้ข้อมูลผ่านเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ถึงผลข้างเคียง "วัคซีนโควิด" ชนิด mRNA แม้ว่าทั่วโลกจะมีประชากรรับวัคซีนชนิดดังกล่าวเป็นจำนวนมากแล้ว แต่ผลวิจัยยังมีการระบุถึงผลข้างเคียงที่ต้องระวังออกมาอย่างต่อเนื่อง อ่านเพิ่มเติมจุลินทรีย์ในลำไส้...ที่มาและที่จะไปต่อ (ตอนที่ 2)
การจัดระยะการดำเนินโรค Braak staging ยังมีเช่นกันในโรคอัลไซเมอร์ ตั้งแต่ปี 1991 และจัดแบ่งระยะที่หนึ่งถึงสอง ระยะที่สามถึงสี่ และระยะที่ห้าถึงหก ตามตำแหน่งของสมองที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดความผิดปกติ และโปรตีนพิษเหล่านี้จะมีการเคลื่อนย้ายส่งผ่านไปสู่สมองส่วนต่างๆเป็นระเบียบ ตามลักษณะของโรคแต่ละชนิด อ่านเพิ่มเติมศ.นพ.ธีระวัฒน์ เผยประสบการณ์การใช้กัญชาพื้นบ้าน สาร terpene flavonoids และกัญชงตระกูล CBD กับอาการป่วยโรคกระดูกและข้ออักเสบของตนเอง
วันที่ 17 ธันวาคม 2565 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสเฟซบุ๊กแชร์ประสบการณ์ การใช้กัญชารักษาโรคกระดูกและข้ออักเสบของตนเอง อ่านเพิ่มเติมจุลินทรีย์ในลำไส้...ที่มาและที่จะไปต่อ (ตอนที่ 1)
หลักฐานเนิ่นนานมีมาตั้งแต่ปี 1817 ที่ศัลยแพทย์ชาวอังกฤษชื่อเจมส์ พาร์กินสัน ซึ่งต่อมาก็เป็นที่มาของชื่อโรค ได้รายงานว่า ผู้ป่วยหลายรายที่มาด้วยอาการสั่นที่ในขณะนั้นตั้งชื่อว่า “shaking palsy” มีท้องผูกนำมาก่อน และผู้ป่วยหนึ่งในหกราย ที่ได้ทำการบรรเทาเยียวยาอาการทางลำไส้ ปรากฏว่า ความแปรปรวนของการเคลื่อนไหวและการสั่นกลับดีขึ้น ทั้งๆที่ในสมัยนั้นไม่ได้มียาอย่างในปัจจุบันที่ใช้กันอยู่ด้วยซ้ำ อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ แนะวิธี ‘กินฟ้าทะลายโจร’ แบบผง-แคปซูล ยังไง เมื่อเริ่มมีอาการ
เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ได้โพสต์ข้อความว่า “ทานฟ้าทะลายโจรตามที่กระทรวงสาธารณสุข อย. แนะนำ -ต้องเริ่มทาน เมื่อมีอาการเลย เช่นเดียวกับยาต้านไวรัสทุกชนิด -และแต่ละยี่ห้อจะกิน ต่างกัน ขึ้นอยู่กับตัวออกฤทธิ์ มีมากน้อยเท่าใด อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ เปิดข้อมูลโควิด ที่แท้หลุดจากห้องแล็บ สหรัฐ-อู่ฮั่น ศึกษาวิจัยร่วมกัน
หมอธีระวัฒน์ เปิดข้อมูลต้นตอโควิด เผยหลุดจากห้องแล็บที่ สหรัฐ-อู่ฮั่น ทำการวิจัยร่วมกัน โดยได้ทุนสนับสนุนจากประเทศสหรัฐเอง 7 ธ.ค. 2565 – นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของ โควิด 19 มีรายละเอียดดังนี้ อ่านเพิ่มเติม’’’’หมอธีระวัฒน์’’’’เผยสหรัฐประกาศยาโควิด ‘โมโนโคลนอลฯ’ ไม่ได้ผลแล้ว ‘โมลนูพิราเวียร์’ยังใช้ได้
วันที่ 6 ธันวาคม 2565 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า สหรัฐ ประกาศยายับยั้ง โควิด โนโนโคลนอล แอนติบอดี (monoclonal antibody) ไม่ได้ผลแล้ว เนื่องจากสายย่อย โอไมครอน เช่น BQ มีการปรับรหัสพันธุกรรมทำให้แอนติบอดีจับไม่ได้ และตัวอื่นๆที่ทยอยตามมา อ่านเพิ่มเติม"โควิด19" เริ่มส่งสัญญาณบวก หมอธีระวัฒน์เผย 10 ข้อ สถานการณ์ระบาดดีขึ้น
"โควิด19" เริ่มส่งสัญญาณบวก หมอธีระวัฒน์เผย 10 ข้อ สถานการณ์ระบาดดีขึ้น อ่านเพิ่มเติมวิตามิน ดี…มีข้อดี แต่จำกัด
ข้อมูลทั้งหมดนี้ มาจากการสัมภาษณ์ Dr.JoAnn Manson ในวันที่ 12 ตุลาคม 2022 ใน Medscape Neurology ท่านเป็นศาสตราจารย์ทางอายุรศาสตร์ ที่โรงเรียนแพทย์ Harvard and Brigham and Women’s Hospital และได้แถลงอธิบายผลของการวิจัยล่าสุด โดยเฉพาะที่เป็นการศึกษาทางคลินิกในแบบ randomized controlled trials ซึ่งเป็นการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมในเรื่องของการเสริมวิตามินดี และสรุปข้อที่ควรประพฤติ ปฏิบัติ สำหรับในการแนะนำและรักษาทางคลินิกและสำหรับประชาชนทั่วไป อ่านเพิ่มเติมคืนสู่ธรรมชาติ ทะนุถนอมสมอง
เราทุกคนอาจจะเคยรู้สึก หรือเคยสังเกตว่า เวลาที่เราไปเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นป่าเขา น้ำตก ทะเล จนกระทั่งเข้าไปเยี่ยมเพื่อนหรือญาติมิตร ที่อยู่ต่างจังหวัด ที่ไม่ได้พลุกพล่าน แออัด เต็มไปด้วยถนนหนทาง ตึกรามบ้านช่อง ห้างสรรพสินค้าประดามี เรากลับรู้สึกสงบ ไม่ร้อนรุ่ม อ่านเพิ่มเติมขาดการออกกำลัง...หัวใจเหี่ยวลีบ เล็ก วาย
ปกติแล้ว เราสนใจแต่การที่มีหัวใจโต ไม่ว่าจะตรวจจากการเอกซเรย์ปอดซึ่งดูรูปพรรณสัณฐานของหัวใจได้ จวบจนกระทั่งการดู เอคโค่ หัวใจ (echocardiogram) ที่บอกขนาด ความหนาของผนังหัวใจ และแรงดันในช่องต่างๆ จนกระทั่ง ความผิดปกติของการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ อ่านเพิ่มเติมเบาหวานสมองเสื่อม...ยาอะไรช่วยได้
เบาหวานจัดเป็นผู้ร้ายตัวสำคัญใครเป็นแล้วก่อให้เกิดผลร้าย ทั่วร่างกาย ทุกอวัยวะ และถ้าคุมไม่ดี ทั้งตาบอด ไตวาย เส้นเลือดตีบตันทั้งหัวใจสมอง จนกระทั่งเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะอื่นๆ ขาดำ เท้าดำ มือเท้าชา จากการที่เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงผิวหนังและเส้นประสาทได้พอเพียง อ่านเพิ่มเติมกำเนิดของโควิดเกี่ยวพันกับการศึกษาวิจัยในห้องแล็บ
Covid “most likely” เกิดจากการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับไวรัส research related activities มากกว่าที่จะเกิดจากธรรมชาติ (จาก senate วุฒิสภา สหรัฐฯ) 1.จุดแรกที่เกิดในคน อยู่ใกล้ Wuhan institute of Virology ตั้งแต่ตุลาคม 2019 2.Covid ยังไม่พบ intermediate host หรือสัตว์ตัวกลางใดๆ สำหรับค้างคาวมงกุฎิ พบไวรัสใกล้ covid แต่ไม่ใช่ covid และไม่เข้าคน อ่านเพิ่มเติม“สูงวัย” เนือยนิ่ง ทอดหุ่ยกับสมองเสื่อม
“สว.” คือ “สูงวัย” จะมีพฤติกรรมชอบเนือยนิ่ง (Sedentary behavior) และเป็นที่ทราบชัดเจนแล้วว่า การนั่งหรือเอน ทอดหุ่ย ขี้เกียจ ดูแต่ทีวี งีบหลับเป็นพักๆ ทำให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิตในทุกสาเหตุ ทำให้โรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ ที่เราเรียกกันว่า NCD หรือโรคคาร์ดิโอเมตาบอลิก อ่านเพิ่มเติมแม้แต่แมลงหวี่อกหักยังพึ่งเหล้า
ถ้าอย่างนั้นมาเข้าเรื่องกันเลยแล้วกันนะครับ ในเรื่องของการติดเหล้า ในทางวิทยาศาสตร์สมอง เป็นเรื่องค้นคว้า วิจัย ศึกษากันมานาน ทั้งนี้ มีหลักฐานและคำอธิบายหลากหลายในเรื่องของเหล้า ซึ่งจะเป็นสิ่งทดแทนเหมือนกับให้ความสุขเป็นรางวัล หรือแม้แต่ทำให้รู้สึกสดชื่น รื่นเริง เบิกบาน ช่วยให้เข้าสังคมได้ง่ายขึ้น และอีกบทบาทหนึ่งเป็นเครื่องช่วยระบายความทุกข์ ระทม ขมขื่น อ่านเพิ่มเติมเพียงแค่กินพริก ก็ช่วยสมองได้
เรื่องของพริกน่าจะต้องย้อนกลับไปถึงตำนานของบุหรี่ ซึ่งเกิดปรากฏการณ์ประหลาดที่สังเกตว่าคนสูบบุหรี่แม้จะตายยับจากมะเร็ง ป่วยหลอดลม ถุงลมและโรคอื่นมหาศาล ทรมานตลอด แต่กลับมีโรคทางสมองเสื่อมน้อยกว่าและดูจะค่อยๆรุนแรงอย่างช้าๆ อ่านเพิ่มเติมเบียร์มีหรือไม่มีแอลกอฮอล์ กลับบำรุงสุขภาพ
ข่าวล่ามาแรง รายงานในปี 2022 นี้เอง จนกระทั่งมีคำอุปมาว่า เบียร์วันละแก้วอาจช่วยไม่ให้ต้องพึ่งหมอ เหมือนกับที่เราเคยได้ยินได้ฟังว่า กินแอปเปิ้ลวันละลูก หมอไปไกลๆได้เลย อ่านเพิ่มเติมมาถูกทาง กินน้อยตายน้อยจากโควิด-19
รากฐานซึ่งนำมาถึงหลักการความเชื่อ จนกระทั่งถึงการประพฤติและปฏิบัติของการงดอาหาร เป็นระยะ หรือลดอาหาร จนกระทั่งถึงการกินเข้าใกล้มังสวิรัตินั้น มาจากการที่มีกลไกในการปรับการใช้พลังงานโดยเผาผลาญกลูโคสและไกลโคเจน จนกระทั่งถึงกระบวนการในการสร้างกลูโคส หมด แล้วปรับเปลี่ยนโหมดเป็นการสร้างคีโตน อ่านเพิ่มเติมบริการตรวจเลือด อัลไซเมอร์ หรือสมองเสื่อมอื่นๆ และระดับการทำลายสมอง
ห้อง 912 อาคาร อปร ชั้น9 โทร 02 256 4000 ต่อ 3562 , 0841134443 (คุณอดิภา) Email : trc.eid@gmail.com | https://trceid.org @Line ID: trceid หรือ @Phone number: 0858581469 อ่านเพิ่มเติม"หมอธีระวัฒน์" เผยข้อมูล คนเคยปลูกฝีกันไข้ทรพิษ ช่วยป้องกันฝีดาษลิงนาน 88 ปี
ศ.นพ.ธีระวัฒน์ ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ เผยข้อมูลจากคุณหมอ judd chontavat ระบุว่าคนเคยปลูกฝีกันไข้ทรพิษช่วยกันฝีดาษลิงได้ เพราะภูมิอยู่นาน 88 ปี แม้จะไม่ได้ฉีดวัคซีนกระตุ้นก็ตาม อ่านเพิ่มเติม10 ประเด็นน่ารู้ “ฝีดาษลิง” กลุ่มเสี่ยงตรวจหาเชื้อได้ตามแล็บทั่วไทย
นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha กล่าวถึง 10 ประเด็นเกี่ยวกับอาการโรคฝีดาษลิง ประกอบด้วย อ่านเพิ่มเติม"วัคซีน-โมโนโคลนอลแอนติบอดีย์" อาจไม่ใช่ทางออกสุดท้ายโควิด-19
"หมอธีระวัฒน์" โพสต์ระบุ วัคซีน -โมโนโคลนอลแอนติบอดีย์ อาจไม่ใช่ทางออกสุดท้าย พร้อมย้ำฟ้าทะลายโจร ทานเมื่อมีอาการ ใช้ถูกใช้เป็น ไม่มีตับอักเสบตามข้อมูลของสธ. อ่านเพิ่มเติม"หมอธีระวัฒน์" เผยงดอาหารแบบ IF ช่วยลดอาการรุนแรงติดโควิด
วันที่ 12 ส.ค.65 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Thiravat Hemachudha ระบุว่า... อ่านเพิ่มเติมไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ! “หมอธีระวัฒน์” เผยทำ IF ลดอาการรุนแรงเมื่อติดโควิด
ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา เผยวิธีลดความรุนแรงเมื่อติดโควิด นั่นคือการอดอาหารแบบ IF วันละ 12-14 ชม. พบเสียชีวิต 11% เทียบกับคนกินปกติ 24% ชี้ออกกำลัง ตากแดดช่วยภูมิคุ้มกันต่อสู้กับโรคร้าย วันนี้ (12 ส.ค.) เฟซบุ๊ก “ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha” หรือ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้ออกมาเปิดเผยวิธีการที่สามารถช่วยลดอาการรุนแรงเมื่อติดเชื้อโควิดได้ นั่นคือการทำ IF ทั้งนี้ หมอธีระวัฒน์ได้ระบุข้อความว่า อ่านเพิ่มเติมคันคะเยอ ผื่นแพ้ภูมิผิวหนัง
ตามความเป็นจริง หมอเองก็ไม่ได้เชี่ยวชาญทางด้านผิวหนัง แต่เป็นหมอยา อายุรแพทย์ และหมอสมอง ซึ่งได้รับการอบรมทางภูมิคุ้มกันทางสมอง และการติดเชื้อทางสมองโดยเฉพาะ และมาเจอบทความนี้ ที่โยงต่อติดสมองและภูมิแปรปรวน อ่านเพิ่มเติมเชื้อโควิด หลบยาต้านฯ !!? หมอธีระวัฒน์ เผยมี 3 ลักษณะอาการ
หมอธีระวัฒน์ เผยมีข้อมูลวิเคราะห์ กรณีผู้ป่วยโควิด กินยาต้านไวรัสแล้ว กลับมาเป็นใหม่ หรือ rebound ซึ่งสาเหตุ จะเกิดจากเชื้อโควิด หลบยาต้านฯ จริงหรือไม่อย่างไร ? และกรณีศึกษานี้ ได้ใช้ยาต้านทั้ง 2 ชนิดนี้ “ยาโมนูลพิราเวียร์” (Molnupiravir) และ “ยาแพกซ์โลวิด” (Paxlovid) ยาต้านชนิดไหน.. ดีกว่ากัน และจะป่วยซ้ำหนักแค่ไหน มีข้อมูลมาแนะนำ อ่านเพิ่มเติมชี้เป้าตรวจ ’’’’โรคฝีดาษลิง’’’’ คณะแพทย์จุฬาฯแจ้งผลใน 24 ชม.
วันนี้ ( 7 ส.ค. 65 ) ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดบริการตรวจหาเชื้อฝีดาษลิง ด้วยวิธี Realtime PCR / Conventional PCR and Sequencing โดยเปิดทำการตรวจในเวลา 08.30 -17.00 น. ที่ห้อง 912 อาคาร อปร.ชั้น 9 พร้อมแจ้งผลภายใน 24 ชั่วโมง อ่านเพิ่มเติม"หมอธีระวัฒน์"เผย ประเทศล่าสุด ประกาศ ฝีดาษลิง เป็นวิกฤตทางสาธารณสุขแล้ว
นอกจากนั้น นักวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่นได้ทำการประเมินเบื้องต้นแล้วว่า ยาทั้ง 3 ตัวที่ใช้ในมนุษย์อยู่แล้ว Atovaquone ใช้รักษามาลาเรีย และปาราสิต Mefloquine รักษามาลาเรีย และ Molnupiravir รักษา โควิด มีคุณสมบัติในการต้านไวรัสฝีดาษวานร และน่าจะมีศักยภาพในการใช้เป็นการรักษาได้ ย้ำ ยายังไม่ได้รับรองในการใชัในฝีดาษลิง แต่ควรต้องมีการศึกษาต่ออย่างด่วน อ่านเพิ่มเติมเบาะแสรักษาโรคพาร์กินสัน
โรคพาร์กินสัน เป็นโรคสมองเสื่อมแบบหนึ่งจะเรียกว่าเป็นโรคพี่ โรคน้องกับอัลไซเมอร์ก็ว่าได้ ถึงแม้ว่าอาการจะไม่เหมือนกัน โดยที่ในโรคพาร์กินสันนั้น เป็นเรื่องของการเคลื่อนไหวฝืด แข็ง จะมีสั่นมากหรือสั่นน้อยก็ได้ อ่านเพิ่มเติมสมองเสื่อม ต้องสู้ต่อมีทางแล้ว
ทำไมว่าหนักสาหัส เพราะประชากรไทยเข้าสู่ยุคสูงวัย มีสัดส่วนที่น่ากังวล และคำว่าสูงวัยในปัจจุบันอาจจะใช้อายุตามวัน เดือน ปีเกิดไม่ได้ เพราะสมองของแต่ละคนมีต้นทุนต่างกัน นั่นคือถูกกำหนดจากชะตาชีวิตหรือยีนส่วนหนึ่ง แต่มีตัวที่ทำให้ต้นทุนหายกำไรหด จากโรคนานาชนิด อ้วนลงพุง ขาดการออกกำลัง เบาหวาน ความดัน ไขมัน ส่งผลไปถึงความบกพร่องไม่สมบูรณ์ของระบบเส้นเลือดและหัวใจ อ่านเพิ่มเติม"หมอธีระวัฒน์" เผยประเด็นสำคัญของ "ฝีดาษลิง" ที่ต้องเริ่มระวัง
วันที่ 3 ส.ค.65 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ระบุข้อความว่า ... อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์เผยโรคฝีดาษลิง แพร่เชื้อทางตรง “จูบ เลีย อม ไอ จาม”
หมอธีระวัฒน์ระบุว่า โรคฝีดาษลิงนั้นมีทั้งการแพร่คล้ายแบบโควิด แต่ “ยากกว่ามาก ๆ” และการแพร่แบบโรคทางเพศสัมพันธ์ อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ เผย สาเหตุ ความเหนื่อยล้าเพลียง่ายหลังโควิด ลึกกว่าที่รู้สึก
หมอธีระวัฒน์ เหมะจุฑา เผย สาเหตุ ความเหนื่อยล้าเพลียง่ายหลังโควิด อาจเกิดจากการนอนผิดปกติ นอนไม่หลับ และในร่างกายยังมีการอักเสบอยู่และไปกระทบสมอง อาจทำให้หลงลืม เลื่อนลอย อารมณ์เปลี่ยน อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ แชร์บทเรียนติดโอมิครอน BA.4/5 เผย รพ.หลายที่ให้ซื้อยาต้านไวรัสเอง
วันที่ 11 ก.ค. 2565 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์ข้อความเล่าประสบการณ์การติดโควิดสายพันธุ์โอมิครอน BA.4/5 ผ่านเฟซบุ๊ก "ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha" โดยระบุว่า หมอเองติดไปแล้วตั้งแต่ 10 มิถุนายน และเช่นเดียวกับอีกหลายคน ตั้งแต่ต้นเดือนมิถุนายน แม้ว่าหลายคนจะฉีดเข็มที่สี่หรือห้าหรือหกไปแล้ว อ่านเพิ่มเติมอย่าชะล่าใจ "หมอธีระวัฒน์" เผยประสบการณ์ตัวเองกับโอมิครอน BA.4 - BA.5
หมอธีระวัฒน์ เผยประสบการณ์หมอเองกับโอมิครอน BA.4 / BA.5 ฉีดวัคซีนแล้วยังมีโอกาสติด เตือนอย่าเชื่อ ATK ถ้ายังขีดเดียว แต่มีอาการไม่สบายให้รีบแยกตัว อ่านเพิ่มเติมต้นตอ! โรคอุบัติใหม่ เชื้อร้ายติดจากสัตว์มาสู่คน
ไม่ว่าจะเป็นโรคซาร์ส ไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่ 2009 และโควิด-19 ต่างสร้างความโกลาหลส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมอย่างหนักในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานี้ อันมีปัจจัยจาก “ความชุกชุมของสัตว์พาหะนำโรคบวกกับความสะดวกทางคมนาคม และผู้คนขาดการป้องกัน” ทำให้เปิดช่องโอกาสสัมผัสโรคได้มากขึ้น อ่านเพิ่มเติม"หมอธีระวัฒน์" แนะขั้นตอนการรักษา "โควิด-19" แบบเร็ว ป้องกันอาการหนัก
วันที่ 12 ก.ค. 2565 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์ข้อความโดยระบุว่า การรักษาเป็นขั้นเป็นตอนแบบเร็วสุด กันอาการยกระดับ ดูแลตนเอง เนื่องจากต้องจ่ายเองในปัจจุบัน อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ เผยติดโควิดซ้ำ ไม่ใช่เรื่องดี ผลกระทบยิ่งหนักขึ้นเป็นเงาตามตัว
หมอธีระวัฒน์ เผยติดโควิด-19 ซ้ำ ไม่ใช่เรื่องดี ผลกระทบหนักขึ้นเป็นเงาตามตัว และลองโควิดยืดยาวขึ้นในทุกๆ ครั้งที่ติดซ้ำใหม่ แนะถ้าติดโควิดต้องหายเร็วที่สุด อ่านเพิ่มเติมห้ามชะล่าใจ! ‘หมอธีระวัฒน์’ แชร์ประสบการณ์ติดโควิด BA4/5 ... สามารถติดตามต่อได้ที่ : https://www.dailynews.co.th/news/1237950/
เมื่อวันที่ 10 ก.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่าน เพจเฟซบุ๊ก “ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha” ระบุว่า “ประสบการณ์หมอเองติด โอไมครอน BA4/5 ... สามารถติดตามต่อได้ที่ : https://www.dailynews.co.th/news/1237950/ อ่านเพิ่มเติมคอกาแฟได้เฮ ชีวิตอยู่ยาว?
มนุษย์โลกได้รับทราบสรรพคุณของกาแฟมาเนิ่นนาน เช่นเดียวกับคนไทยและคนทำงานที่ไม่เป็นเวลา เป็นกะกลางวันบ้าง กลางคืนบ้าง ทั้งอาชีพยาม อาชีพหมอ ที่ต้องพึ่งกาแฟเป็นอาจิณ อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ เผย รพ.เอกชน เปิดแพคเกจ ‘ประเมินอาการ’ ติดโควิดต้องซื้อยาเอง
สถานการณ์การแพร่ระบากของเชื้อโควิด-19 ในวันที่ 9 กรกฎาคม 2565 โดยข้อมูลจากเพจเฟซบุ๊ก ศูนย์ข้อมูล COVID-19 และเว็บไซต์ www.ddc.moph.go.th วันนี้พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ 1,811 ราย ไม่นับรวมผู้ติดเชื้อจากการตรวจพบด้วยชุดตรวจ ATK อีก 1,781 ราย หากนับรวมยอดผู้ติดเชื้อตั้งแต่ช่วงวันที่ 1 มกราคม 2565 จำนวนผู้ป่วยสะสม 2,323,419 ราย ในส่วนของผู้เสียชีวิตวันนี้ 24 ราย หากนับรวมยอดผู้เสียชีวิตตั้งแต่ช่วงวันที่ 1 มกราคม 2565 ที่ผ่านมานั้น เป็นจำนวน 9,161 ราย อ่านเพิ่มเติมโควิด-19 : แพทย์จุฬาฯ เตือนโอมิครอนระลอกใหม่ยังไว้ใจไม่ได้ หลัง สธ. เตือนยอดผู้ป่วยพุ่งสูงสุดช่วง ก.ย.
ท่ามกลางมาตรการผ่อนคลายในด้านต่าง ๆ รวมทั้งการเปิดประเทศ กระทรวงสาธารณสุขออกมายอมรับแนวโน้มผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยกำลังรักษา ผู้ป่วยอาการหนัก และผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งมาจากการแพร่ระบาดของสายพันธุ์ย่อยของโอมิครอน BA.4/BA.5 ซึ่งพบมากจากผู้เดินทางเข้าไทยจากต่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม‘หมอธีระวัฒน์’ เตือน ปชช. ระวังโควิด หลังโรงพยาบาลเอกชนเริ่มเต็ม
หมอธีระวัฒน์ โพสต์เตือนประชาชนระวัง โควิด ชี้โรงพยาบาลเอกชนก็เต็ม ยาต้านไวรัส โรงพยาบาลก็ต้องซื้อเอง ถ้าติดอาจไม่ง่าย อ่านเพิ่มเติมสะพรึง อินเดียเกิดโรคประหลาด ซ้ำเติมโควิด ผู้ป่วยพุ่ง 450 ดับสลดแล้ว 1
วิกฤติโรคประหลาดในรัฐอานธรประเทศ ของอินเดีย ส่งผลให้มีผู้ป่วยต้องถูกส่งเข้าโรงพยาบาลแล้วกว่า 450 ราย เสียชีวิตแล้ว 1 เจ้าหน้าที่เร่งสืบหาสาเหตุของโรค อ่านเพิ่มเติมCOVID-19 spread in different social settings - new Imperial report
In a global analysis of where SARS-CoV-2 transmission takes place, households show the highest transmission rates. อ่านเพิ่มเติมWHO head has singled out one developing country for its success in managing the coronavirus pandemic
Tedros urges countries to re-evaluate their approaches to health care and view it as an investment and not a cost อ่านเพิ่มเติมจับตา รพ.สต. อีกหน้าที่ปลูกและใช้กัญชาทางการแพทย์ ชงคนไข้ปลูกเองใช้รักษา
สธ.เดินหน้าผลักดัน รพ.สต. จับมือเกษตรกร-สถาบันการศึกษาปลูกและใช้กัญชาทางการแพทย์ทั่วประเทศ พร้อมจัดทำกระบวนการรองรับผู้ป่วยปลูกกัญชา มีหน่วยงานควบคุมดูแล ชูสถาบันกัญชาทางการแพทย์เป็นตัวประสานทุกหน่วยงานเกี่ยวข้อง พร้อมมีบิ๊กดาต้าการใช้ทั้งประเทศไทย อ่านเพิ่มเติมEp 1: Disease Hunters: The Viral Menace
COVID-19 has brought attention back to deadly viruses. Meet hard-working scientists in Singapore and elsewhere racing to identify emerging pathogens, battle existing viruses and co-operate to find urgently-needed treatments and vaccines. อ่านเพิ่มเติมSharing COVID-19 experiences: The Thailand response
In response to community transmission of COVID-19, Thailand introduced a whole of society response, implementing a range of measures to contain the virus, including extensive testing, contact tracing, clear and consistent communications to the public, and nationwide mobilization of health workers. This video tells the story of Thailand’s response. More information: www.who.int/COVID-19 อ่านเพิ่มเติมดร.สุภาภรณ์ วัชรพฤษาดี แห่งศูนย์วิจัยโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
คุยกับนักวิจัยไวรัสในค้างคาวของไทย ดร.สุภาภรณ์ วัชรพฤกษาดี ที่นำคณะระบุชี้เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่และถอดรหัสพันธุกรรมของเชื้อได้เป็นกลุ่มแรกนอกประเทศจีน อ่านเพิ่มเติมRESERCH
โครงการวิจัยโรคทางร่างกาย
โครงการวิจัยโรคทางร่างกายโครงการวิจัยโรคทางสมอง
โครงการวิจัยโรคทางสมองARTICLE
แอลกอฮอล์บ้าง กลับลดสมองเสื่อม
การศึกษานี้ไม่ได้หมายความว่าส่งเสริมให้ผู้คนทั้งหลายดื่มเหล้า เพราะทั้งนี้เราทุกคน ทราบแล้วว่า การดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ถ้าไม่รู้จักตนเองเพิ่มปริมาณขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นติดแอลกอฮอล์ ดื่มหัวราน้ำ ชีวิตตนเองและครอบครัวจะพังพินาศและมีโรคภัยไข้เจ็บมหาศาลทั้งโลกทางกายและสมอง อ่านเพิ่มเติมโรควัวบ้าแบบผิดปกติ เชื้อร้าย! สมองเสื่อม
โรควัวบ้าแบบ “ผิดปกติ”...ที่เกิด ขึ้นในประเทศบราซิลทำให้เกิดบังคับใช้การห้ามส่งออกเนื้อวัวชั่วคราว เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมานี้มีข่าวระบุว่าจะดำเนินการเพื่อยกเลิกการระงับการส่งออกเนื้อวัวที่ออกโดยหลายประเทศในเอเชียอย่างรวดเร็ว อ่านเพิ่มเติมกินด้วยอารมณ์..หัวใจเสื่อมโทรม
การกินเป็นเรื่องสลับซับซ้อนซ่อนเงื่อน และเห็นชัดแล้วว่าจะเป็นตัวกำหนดสุขภาพกายให้แข็งแรงยืนยาวหรือไม่อย่างไร รวมกระทั่งถึงสุขภาพสมองผ่านทางกระบวนการอักเสบไปจนกระทั่งถึงวงจรของจุลินทรีย์ในลำไส้ ตับ เส้นประสาท ที่เชื่อมโยงไปถึงสมอง อ่านเพิ่มเติมผู้สูงวัยกับยาความดันบ้านๆ ลดสมองเสื่อมได้
เราทราบกันมานานแล้วว่าความดันสูงเป็นสาเหตุหนึ่งที่โน้มนำทำให้เกิดสมองเสื่อมได้เร็วและเมื่อเป็นไปแล้วจะรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ อ่านเพิ่มเติมชาดำ เส้นเลือดยังอ่อนเยาว์
ดื่มชาดำควบคู่ไปกับอาหารพืชผักผลไม้กากใย เนื้อปลาเป็นหลัก เนื้อแดงไม่มากแถมไวน์แดง หรือชาดำ เป็นหลักช่วยป้องกันไม่ให้เส้นเลือดแข็งโดยดูจากการที่ไม่มีหินปูนเกาะที่เส้นเลือดใหญ่ที่ออกจากหัวใจ อ่านเพิ่มเติมสายพันธุ์ย่อยโควิดปี 2566
ควรจะเป็นปีที่สดใสในเรื่องที่เกี่ยวโยงกับโควิดที่เราเผชิญมาตลอดสามปี ทั้งนี้ การประเมินไม่ได้อยู่ที่ตัวไวรัสอย่างเดียว อย่างที่ได้จากข้อมูลของหลอดทดลองทางห้องปฏิบัติการหรือสัตว์ทดลอง ซึ่งสามารถทำให้เกิดความรุนแรงในด้านการติดและการเกิดอาการหนัก อ่านเพิ่มเติมลงดาบโฆษณาลวง ด้านมืดสื่อออนไลน์
ทุกวันนี้ “โฆษณาออนไลน์ตุ๋นคน” ก็ยังคงมีอยู่เกลื่อนกลาด...เห็นได้โดยทั่วไป อาทิ ผลิตภัณฑ์อ้างรักษาความดันและหลอดเลือด ช่วยลดความดันโลหิตและระดับคอเลสเทอรอลรวม...ช่วยต้านการแข็งตัวของเลือด ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติมวิตามินดีต่ำ…คือใช้ชีวิตผิด
เรื่องเกี่ยวกับวิตามินดีเป็นเรื่องใหญ่และเรื่องสำคัญมาก เพราะในเวลาที่ผ่านมามีการให้ความสำคัญ จนกระทั่งต้องมีการตรวจวัดระดับของวิตามินดีในการตรวจสุขภาพ ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย อ่านเพิ่มเติมกินยาซึมเศร้านานๆ..เสี่ยงเสียชีวิต
ยาต้านอารมณ์ซึมเศร้า หดหู่ น่าจะกลายหรือเกือบกลายเป็นยาสามัญประจำตัวของคนไทยไปแล้ว ทั้งนี้ เนื่องจากเมื่อทำการซักประวัติ ตรวจคนไข้ และประเมินโรคและยาทั้งหมดที่ผู้ป่วยได้รับจะปรากฏว่า ได้รับยาหดหู่ซึมเศร้า ยาคลายกังวล ทั้งนี้เนื่องจากนอนไม่หลับ ปรับตัวไม่ได้ จนรบกวนชีวิต การทำงานและการบ้านเป็นจำนวนมากกว่าครึ่ง อ่านเพิ่มเติมวิตกกังวล สมาธิช่วยได้
ปฏิเสธไม่ได้ว่าภาวะในปัจจุบันมีคนไทยอยู่ในภาวะจิตตกมากมาย และเป็นปัญหาที่กระทบสุขภาพต่อเนื่องเป็นลูกโซ่และคุณภาพประสิทธิภาพในการทำงานด้อยลง จนต้องมีการใช้ยามากมายมหาศาล ซึ่งยาหลายชนิดอาจทำให้มีปฏิกิริยาเสริมเพิ่มกันและกัน และกลับทำให้มีผลแทรกซ้อน หรือผลข้างเคียงมากขึ้นเป็นเงาตามตัว อ่านเพิ่มเติมจุลินทรีในลำไส้...ที่มาและที่จะไปต่อ (ตอนที่ 3)
อาหารการกินจนกระทั่งถึงประเภทของ prebiotic คือพืชผักผลไม้กากใย probiotic เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต จนกระทั่งถึงในรูปของยา และ synbiotic ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งปรับแต่งให้มีจุลินทรีย์ดีหลายชนิดจำนวนมากขึ้น มีจุดมุ่งหมายที่จะกั้นผนังลำไส้ไม่ให้รั่ว... อ่านเพิ่มเติมจุลินทรีย์ในลำไส้...ที่มาและที่จะไปต่อ (ตอนที่ 2)
การจัดระยะการดำเนินโรค Braak staging ยังมีเช่นกันในโรคอัลไซเมอร์ ตั้งแต่ปี 1991 และจัดแบ่งระยะที่หนึ่งถึงสอง ระยะที่สามถึงสี่ และระยะที่ห้าถึงหก ตามตำแหน่งของสมองที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดความผิดปกติ และโปรตีนพิษเหล่านี้จะมีการเคลื่อนย้ายส่งผ่านไปสู่สมองส่วนต่างๆเป็นระเบียบ ตามลักษณะของโรคแต่ละชนิด อ่านเพิ่มเติมโควิดไวรัสร้ายถล่มโลก ปุจฉาหลุดจากแล็บ
“โควิด”...ไวรัสร้ายถล่มโลก สร้าง ความเสียหายมากมายมหาศาลทั้งสุขภาพ...เศรษฐกิจหนึ่งในประเด็นสำคัญที่น่าสนใจมีว่า...จนถึงปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานว่ามาจาก “ธรรมชาติ” จนกระทั่งถึงปี 2022 หลักฐานทั้งหมดบ่งชี้ไปในทิศทางที่ว่าน่าจะหลุดออกมาจาก “ห้องแล็บ” อ่านเพิ่มเติมจุลินทรีย์ในลำไส้…ที่มาและที่จะไปต่อ (ตอนที่ 1)
หมอได้เรียนให้ทราบถึงเรื่องจุลินทรีย์ในลำไส้มาหลายบทหลายตอนแล้ว ก็จะขอสรุปความสำคัญความเป็นมาและปัจจุบันรวมถึงอนาคต ที่จะมีการนำไปใช้ต่อให้ได้ความรู้เบื้องต้น ความเป็นไปของโรคและเราจะสามารถขัดขวางไม่ให้โรครุนแรงขึ้นได้อย่างไร อ่านเพิ่มเติมเผลอนิดเดียว สมองเสื่อมซะแล้วก่อน 60
ที่ผ่านๆมา มีแต่โชว์กันว่า 40 ก็แล้ว 50 ก็แล้วถึง 60 ก็ยังแจ๋ว นัยว่า ยังหน้าตาจิ้มลิ้มหนังยังตึงเป๊ะไม่เหี่ยวย่น รูปพรรณอ้วนท้วนสมกับเป็นผู้อยู่ดีกินดี อ่านเพิ่มเติมเบียร์มีหรือไม่มีแอลกอฮอล์ กลับบำรุงสุขภาพ
ข่าวล่ามาแรง รายงานในปี 2022 นี้เอง จนกระทั่งมีคำอุปมาว่า เบียร์วันละแก้วอาจช่วยไม่ให้ต้องพึ่งหมอ เหมือนกับที่เราเคยได้ยินได้ฟังว่า กินแอปเปิ้ลวันละลูก หมอไปไกลๆได้เลย อ่านเพิ่มเติมปัญญาบังเกิด ขณะเคลิ้มหลับ
เรื่องการนอนหลับเป็นเรื่องมหัศจรรย์พิศวงและเป็นเรื่องที่น่ารู้ น่าติดตามมาตลอด และในวงการของการทำสมาธิ เข้าฌานก็จะมีเรื่องความรู้เกี่ยวกับสภาวะของการเคลิ้มและรอยต่อคาบเกี่ยวระหว่างการตื่นเต็มที่และการที่จะเข้าระยะเริ่มจะหลับหรือหลับตื้นๆ ที่เป็นขั้นตอนที่หนึ่งของการหลับโดยไม่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาที่เรียกย่อๆว่า N1 ของ nonrapid eye movement อ่านเพิ่มเติมมายาหลอก หลักฐานเชิงประจักษ์
ในวงวิชาการโดยเฉพาะทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์จะใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence based medicine–EBM) ในการอ้างอิง เช่น ในเวชปฏิบัติ ในการให้การวินิจฉัย การเลือกที่จะใช้เครื่องมือในการตรวจและกระบวนการวิธีการรักษาต่างๆ อ่านเพิ่มเติมชีวิตหมอกับประสบการณ์วิญญาณ (ตอนที่ 5)
เรื่องในตอนนี้เป็นของคุณบี (นามสมมติ) ที่หมอได้มีโอกาสได้เห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ต้น เมื่อคุณบีอายุได้ประมาณ 11 หรือ 12 ขวบและได้ติดตามเป็นระยะอีกประมาณ 20 ปี อ่านเพิ่มเติมชีวิตหมอกับประสบการณ์วิญญาณ (ตอนที่ 4)
ตอนนี้เป็นเรื่อง : เซนไดในฝัน เป็นเรื่องที่เจอเป็นหมู่ ในคณะที่เดินทางไปเที่ยวที่ญี่ปุ่น ที่เคยไปด้วยกันหลายครั้งกับทัวร์ เวิลด์โปร ทัวร์ที่คุ้นเคยกันมาตลอด อ่านเพิ่มเติมชีวิตหมอกับประสบการณ์วิญญาณ (ตอนที่ 3)
หลังจากที่หมอเล่าประสบการณ์วิญญาณไปสองตอน ในคอลัมน์สุขภาพหรรษา หมอดื้อ (เผยแพร่วันที่ 24 เมษายนและวันที่ 1 พฤษภาคม 2565) นอกจากที่มีเพื่อน พี่ๆ และน้องๆ ในแวดวงการดูแลรักษาบริบาลคนป่วย ได้มาเล่าประสบการณ์ตนเองให้หมอฟัง ยังมีน้องแซวว่า เดี๋ยวนี้หมอดื้อกลายเป็น “สายมู” ไปซะแล้ว อ่านเพิ่มเติมคน 1,400 ล้าน..ย้อนรอยประวัติศาสตร์จีน (ตอนที่ 3)
ในช่วงกลางราชวงศ์ชิงประมาณปี ค.ศ.1700 ชาวต่างประเทศจากยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เริ่มมาค้าขายกับจีนโดยขายฝ้ายมาให้จีนเป็นหลัก ส่วนจีนมีสินค้า เช่น กระเบื้อง ชา กระดาษ ซึ่งเป็นที่ต้องการของประเทศแถบยุโรปมาก อ่านเพิ่มเติมคน 1,400 ล้าน..ย้อนรอยประวัติศาสตร์จีน (ตอนที่ 2)
ประเทศอเมริกา ต้นแบบประชาธิปไตยของโลกที่มีพื้นที่ใหญ่ และทรัพยากรมากมาย เป็นศูนย์กลางความเจริญในด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆของโลก แต่ถ้ามองในรายละเอียดจะเห็นว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นสาเหตุให้มีปัญหาในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ อ่านเพิ่มเติมแพทย์ต้องการความมั่นคง สังคมต้องการผู้เชี่ยวชาญ (ตอน 2)
เปลี่ยน ‘Mindset’ ของรัฐบาล แน่นอนว่าไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะสร้างรูปธรรมให้เกิดขึ้นจริง แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากจนเป็นไปไม่ได้เสียทีเดียว หากต้องการทำให้แนวคิดข้างต้นประสบผลสำเร็จ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเปลี่ยน “Mindset” หรือกระบวนการทางความคิดของรัฐบาลและหน่วยงานรัฐใหม่ อ่านเพิ่มเติมแพทย์ต้องการความมั่นคง สังคมต้องการผู้เชี่ยวชาญ (ตอน 1)
ก่อนอื่นต้องยอมรับก่อนว่าปริมาณของแพทย์ในประเทศไทยไม่เพียงพอ เพราะที่ผ่านมาเราพุ่งเป้าพิจารณากันแต่ในเชิงตัวเลขเพียงอย่างเดียว แต่ไม่ได้มองในรายละเอียดว่าแพทย์ยังมีชีวิตอยู่เท่าใด อยู่ในพื้นที่เท่าใด และช่วงอายุเท่าใด อ่านเพิ่มเติมคน 1,400 ล้าน..ย้อนรอยประวัติศาสตร์จีน (ตอนที่ 1)
บทความหลายตอนต่อจากนี้ เขียนโดยเพื่อนหมอดื้อที่ไม่ประสงค์ออกนาม เรียนมาด้วยกันแต่เด็กและได้ศึกษาต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริกาทางด้านเศรษฐศาสตร์ อ่านเพิ่มเติมการฉีดวัคซีน เข้าชั้นผิวหนัง
ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ประหลาดมหัศจรรย์ ในการนำวัคซีนทุกประเภทมาใช้ในการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง ทั้งนี้ ประโยชน์ที่จะได้รับนั้นคือการที่จะสามารถประหยัดวัคซีนลงได้มหาศาล โดยเฉพาะในเรื่องของวัคซีนโควิด ซึ่งข้อมูลในปัจจุบันยืนยันกันแล้วว่าต้องสามารถฉีดให้ได้ 90% ของคนในพื้นที่หรือในประเทศภายในระยะเวลาอันสั้น นั่นคือไม่เกินสามเดือน ทั้งนี้ อ่านเพิ่มเติมหัวใจอักเสบจากวัคซีน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบภายใน 42 วัน หลังจากที่ได้รับวัคซีนนั้น ไม่ปรากฏในรายงานที่ใช้วัคซีนหัด คางทูม หัดเยอรมัน อีสุกอีใส โปลิโอ หรือไข้เหลือง (vaccine safety data link) มีรายงานสองสามรายในวัคซีนไข้หวัดใหญ่แต่ความเชื่อมโยงไม่ชัดเจน อ่านเพิ่มเติมวิกฤติโควิด ทำให้ตาสว่าง
พื้นฐานที่ดี การปรับตัวฉับไว การบริหาร...เราตาสว่างหรือยัง จากการดูรอบตัวทุกประเทศนำสิ่งที่ดีที่สุด ถูกที่สุด เร็วที่สุด มาปรับแต่งเข้ากับบริบทและสถานการณ์ของประเทศไทย และหลีกเลี่ยงไม่ทำตามสิ่งที่คนอื่นและเราเองผิดพลาดและทำซ้ำอีก อ่านเพิ่มเติมแพทย์ต้องการความมั่นคง สังคมต้องการผู้เชี่ยวชาญ (ตอน 1)
ก่อนอื่นต้องยอมรับก่อนว่าปริมาณของแพทย์ในประเทศไทยไม่เพียงพอ เพราะที่ผ่านมาเราพุ่งเป้าพิจารณากันแต่ในเชิงตัวเลขเพียงอย่างเดียว แต่ไม่ได้มองในรายละเอียดว่าแพทย์ยังมีชีวิตอยู่เท่าใด อยู่ในพื้นที่เท่าใด และช่วงอายุเท่าใด อ่านเพิ่มเติมแพทย์ต้องการความมั่นคง สังคมต้องการผู้เชี่ยวชาญ (ตอน 2)
เปลี่ยน ‘Mindset’ ของรัฐบาล แน่นอนว่าไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะสร้างรูปธรรมให้เกิดขึ้นจริง แต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากจนเป็นไปไม่ได้เสียทีเดียว หากต้องการทำให้แนวคิดข้างต้นประสบผลสำเร็จ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเปลี่ยน “Mindset” หรือกระบวนการทางความคิดของรัฐบาลและหน่วยงานรัฐใหม่ อ่านเพิ่มเติมหัวใจอักเสบจากไฟเซอร์/โมเดนา
อนึ่ง กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบภายใน 42 วันหลังจากที่ได้รับวัคซีนไม่ปรากฏในรายงานวัคซีนหัด คางทูม หัดเยอรมัน อีสุกอีใสโปลิโอหรือไข้เหลือง (vaccine safety data link) มีรายงานสองสามรายในวัคซีนไข้หวัดใหญ่แต่ความเชื่อมโยงไม่ชัดเจน อ่านเพิ่มเติมปริศนาโควิดอินเดีย-อิทธิฤทธิ์ยาฆ่าพยาธิ
เป็นที่พิศวงงงงวยกันทั่วโลก เมื่อประเทศอินเดียที่ประสบเคราะห์กรรม มีผู้ป่วยติดเชื้อแต่ละวันจำนวนมหาศาล รวมทั้งที่เสียชีวิตเป็นกองพะเนิน จู่ๆจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ รวมทั้งจำนวนผู้เสียชีวิตลดลงฮวบฮาบ กระทั่งตีความกันต่างๆนานาว่าท่าทางจะตรวจน้อยลงหรือตายที่บ้านตกสำรวจไปหรือเปล่า แบบในบางประเทศ อ่านเพิ่มเติมปะทุสายพันธุ์เพี้ยน
เป็นที่ชัดเจนแน่ยิ่งกว่าแช่แป้งว่า น้องนุชสุดท้องโคโรนา โควิด-19 แปรผันผิดเพี้ยน เปลี่ยนหน้าเปลี่ยนตาจนเก่งกาจสามารถติดเชื้อได้เก่งแพร่กระจายได้จากหนึ่งไปถึงเกือบ 10 คน และแถมยังหลบลี้หนีจากกระบวนการต่อต้านภูมิคุ้มกันของมนุษย์ ตลอดจนภูมิที่สร้างจากวัคซีนหลากหลาย อ่านเพิ่มเติมถึงเวลาใช้ยาโบราณ แต่ถูกและดี
พวกเราทั่วไป แม้กระทั่งหมอจะถูกฝังหัวเชื่อว่า ของโบราณเชย ล้าสมัย ไม่ได้ผล ไม่มีประสิทธิภาพ และดาหน้าเข้าไปหายาใหม่จากบริษัทยา ซึ่งการจะออกยาใหม่แต่ละครั้งจะมีการวิจัยศึกษาออกแบบกระบวนการซึ่งดูหรูหรา อ่านเพิ่มเติมนิวฟิวเจอร์..ไม่ใช่เพียงนิวนอร์มอล
ล่วงเลยมาจนกระทั่งถึงวันนี้และที่เราประสบพบผ่านมาทุกยุคทุกสมัยในประเทศไทย แต่ที่เห็นชัดเจนแจ่มแจ้งให้คนไทยทุกหมู่เหล่าทุกเพศทุกวัยไม่ว่ายากดีมีจน เห็นตรงกันก็คือในเวลานี้ โควิดสร้างผลกระทบได้เสมอภาค ยกเว้นแต่คนที่ฉวยโอกาส ซ้ำเติมหากำไรบนชีวิตของคนอื่นทั้งหมด อ่านเพิ่มเติมภูมิตอบสนอง..ดี เลว ชั่ว
ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2564 คนไทยเกือบทั้งประเทศคงเคยได้ยินและได้รู้จักกับคำว่า “ภูมิ” โดยเฉพาะภูมิที่ได้จากการฉีดวัคซีนชนิดต่างๆ ทั้งนี้ เป็นที่ดีอกดีใจกันยกใหญ่ ที่ตัวเลขภูมิที่ตรวจได้จากเลือดมีปริมาณสูงเป็น 1,000 เป็น 10,000 และเป็นที่เข้าใจกันว่า ภูมิดังกล่าวสามารถป้องกันการติดเชื้อรวมกระทั่งถึงการป้องกันไม่ให้เกิดอาการหนักจนกระทั่งถึงเสียชีวิตได้ อ่านเพิ่มเติมสูตรกดดันสยบโควิด ดับเครื่องชน 3 เดือนจบ
แนวโน้มการระบาดโควิด-19 ใน “ประเทศไทย” คล้ายดูดีขึ้นเรื่อยๆ แต่อย่าลืมไวรัสกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ใหม่เกิดขึ้นตลอด จนล่าสุดพบ “สายพันธุ์ C.1.2” ปรับตัวหนักข้อกว่าเดิมเริ่มแพร่เชื้อหลายทวีปทั่วโลก ทั้งในทวีปแอฟริกา ยุโรป และเอเชีย อ่านเพิ่มเติมเด็กต้องได้วัคซีน
แรกเริ่มเดิมทีการวิเคราะห์การติดเชื้อโควิดในเด็กดูเหมือนกับว่าจะใจชื้น เด็กดูไม่ค่อยติดหรือติดน้อย และเมื่อติดแล้วไม่ค่อยเป็นอะไรเท่าไหร่ อ่านเพิ่มเติมโควิดจะจบลงตรงไหน แนวโน้มวิกฤติการระบาดของไทยหลังได้รับวัคซีน
จากวิกฤติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ระบาดอย่างหนักในประเทศไทย จนมีผู้ติดเชื้อรายวันทะลุ 2 หมื่นราย ตัวเลขผู้เสียชีวิตพุ่งเกิน 200 ศพต่อวัน หลายคนได้ฝากความหวังไว้ที่วัคซีนชนิด mRNA อย่าง วัคซีนของไฟเซอร์ และโมเดอร์นา ซึ่งเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา ประเทศไทย อ่านเพิ่มเติมโควิด-19 ระลอก 3 ชุดใหญ่ไฟกระพริบ
ถึงเวลาแล้วที่ต้องยอมรับความจริงของสถานการณ์และต้องพึ่งตนเองให้มากที่สุด ทั้งนี้ ประเทศไทยไม่น่าจะเรียกว่าระลอกสี่ เพราะสามยังไม่ทันจบสิ้นและคนติดเชื้อลุกลามไปทั่วโดยยังควบคุมไม่ได้ เราคงไม่น่าเรียกสี่ เราคงเรียกระลอกสามภาคพิสดาร หรือที่เด็กๆที่ฝึกอบรมเป็นผู้เชี่ยวชาญทางสมองที่ทำงานอยู่ด้วยกันชอบเรียกกันว่าเป็นชุดใหญ่ไฟกะพริบมากกว่า อ่านเพิ่มเติมนวัตกรรม AI แม่นยำ รุกตรวจเชื้อโควิด-19
“คนไทย...ประเทศไทย” ต้องรอด เรียนรู้...สู้...อยู่กับไวรัส...“โควิด-19” ให้ได้ เมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนาวิธีการตรวจหาชิ้นส่วนของโปรตีนของโควิด-19 อ่านเพิ่มเติมมรสุมโควิด-19แรง สาธารณสุขล่มสลาย
“ชัยชนะ”...รายวันไม่ใช่จำนวนที่หาย เพราะที่หายเองไม่ต้องเข้าโรงพยาบาล จะต้องมีจำนวนอย่างน้อย 80% ของผู้ติดเชื้อ “ผู้ป่วย”...ที่มีอาการหนักมีอยู่แออัดแน่นในโรงพยาบาลจนหาเตียงเข้าไม่ได้ เป็นตัวเลขจริง อ่านเพิ่มเติม120 วันแผนอนาคต ทุกวันการ์ดอย่าตก
ย้อนไปเมื่อช่วงกลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หรือ “หมอดื้อ” คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ย้ำแบบเสียงดังฟังชัดเกี่ยวกับประเด็น “สงครามโควิด : ทำไมต้องบุกเร็ว-แรง”... อ่านเพิ่มเติม‘หมอธีระวัฒน์’ ลั่น ดีใจเริ่มเร่งหา-ฉีดวัคซีนเข็ม 2 เผยสายพันธุ์ ‘อินเดีย’ น่าวิตก
‘หมอธีระวัฒน์’ ลั่น ดีใจเริ่มเร่งหา-ฉีดวัคซีนเข็ม 2 เผยสายพันธุ์ ‘อินเดีย’ น่าวิตก ชี้ “ทางการตื่นแล้ว คงจะดีขึ้น” เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2564 นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โพสต์เฟซบุ๊กถึงสถานการณ์การฉีดวัคซีนโควิด-19 โดยระบุว่า อ่านเพิ่มเติม‘หมอธีระวัฒน์’ โพสต์ ‘กระผมผิดเองครับ เป็นคนไทยบ้านๆ ไม่ได้ดูตาม้าตาเรือ’ ปมวัคซีน
ภายหลังที่ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้โพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha พร้อมข่าว ’’กทม.’’ สวน ’’สธ.’’ กางแผน ’’วัคซีนโควิด’’ เดือนมิถุนายน โดยมีเนื้อหาระบุว่า อ่านเพิ่มเติม‘หมอธีระวัฒน์’ เผย สิ่งที่ต้องทำก่อนฉีดวัคซีนป้องโควิด เข็มสาม และสลับยี่ห้อ
เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้โพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ระบุว่า อ่านเพิ่มเติม“หมอธีระวัฒน์” ชี้ฉีดวัคซีน “ซิโนแวค” ครบ 2 เข็มแล้ว แนะเข็ม 3 ควรใช้ “ไฟเซอร์-โมเดอร์นา”
ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา เผย สิ่งที่ต้องทำก่อนเข็มสามและสลับยี่ห้อ ย้ำ หากฉีดซิโนแวค 2 เข็มแล้ว เตรียมตัวเข็มที่สามได้เลย แนะเข็มสามควรใช้ไฟเซอร์ โมเดอร์นา จะดีที่สุด อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ หวั่นสายพันธุ์ อินเดีย-แอฟริกา ไม่รู้มาจากไหน ติดโดยไม่รู้ตัว
หมอธีระวัฒน์ หวั่นสายพันธุ์ อินเดีย-แอฟริกา ไม่รู้มาจากไหน ติดโดยไม่รู้ตัว หาความเชื่อมโยงกระจายเชื้อไม่ได้ ตั้งคำถาม 120 วัน กับวัคซีนขณะนี้ อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ เผยฉีดวัคซีนซิโนแวค 2 เข็มแล้ว เตรียมเข็ม 3 ได้เลย แนะใช้ไฟเซอร์
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์ข้อความในเพจเฟซบุ๊กกล่าวถึง สิ่งที่ต้องทำก่อนเข็มสามและสลับยี่ห้อ อ่านเพิ่มเติมหมอชี้ฉีด "ซิโนแวค" ครบ 2 เข็มแล้ว เข็ม 3 ใช้ "ไฟเซอร์-โมเดอร์นา" ดีกว่า!
"หมอธีระวัฒน์" ชี้ฉีดซิโนแวค 2 เข็มแล้ว เตรียมตัวเข็มที่สามได้เลย แนะเข็มสามควรใช้ไฟเซอร์ โมเดอร์นาดีกว่า อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์แนะ ฉีดซิโนแวคครบ 2 โดส ควรฉีดโดส 3 ‘โมเดอร์นา-ไฟเซอร์’ ได้ผลดีกว่า
หมอธีระวัฒน์แนะ หากฉีดซิโนแวคครบ 2 โดส ควรฉีดโดสที่ 3 เป็น ‘โมเดอร์นา-ไฟเซอร์‘ จะได้ผลดีกว่า ภูมิขึ้นมากกว่าซ้ำยี่ห้อเดิม อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ เผย วิกฤติปัญหาสาธารณสุข พร้อมย้ำ ได้วัคซีนครบสองอย่าทนง
หมอธีระวัฒน์ เผย วิกฤติปัญหาสาธารณสุข ที่ทุกฝ่ายต้องทำความเข้าใจร่วมกับ พร้อมย้ำ ได้วัคซีนครบสองอย่าทนง ติดได้เพิ่ม ยังมีตายได้แน่ อ่านเพิ่มเติมทางโค้ง..จบแบบสวยหรือสาหัส (ตอนที่ 1)
ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2564 ทางการประกาศ ทางเดินสู่ชัยชนะ เปิดประเทศ ใน 120 วัน นั่นก็คือใช้ชีวิตตามปกติ รวมถึงการท่องเที่ยวในประเทศและต่างประเทศและสำหรับพื้นที่จังหวัดท่องเที่ยวอาจจะเปิดเร็วขึ้นถ้าได้รับวัคซีนครบถ้วนเรียบร้อย อ่านเพิ่มเติมกำเนิดโควิด..ทฤษฎีจริงจังหรือหรรษา?
คุณเวด ตามประวัติ เขียนบทความและเป็นหัวหน้าแผนก ทางด้านวิทยาศาสตร์ ของนิวยอร์ก ไทม์ส ระหว่างปี 1982 ถึง 2012 เป็นคณะบรรณาธิการของวารสารเนเจอร์ในช่วงปี 1967 ถึง 1971 และวารสารวิทยาศาสตร์ (Science) ในช่วงปี 1972 ถึง 1982 (วิกิพีเดีย 6 พฤษภาคม 2021) อ่านเพิ่มเติมประสบการณ์ที่ได้รับจากการเป็นนักศึกษาแพทย์
ก่อนจะมาเป็นนักศึกษาแพทย์ได้ยินคำพูด เช่น “เรียนแพทย์จะได้ช่วยชีวิตคน” หรือ “ตั้งใจเรียนแพทย์จะได้รักษาคนไข้ได้” ไปจนถึง “ความเป็นความตายคนไข้ขึ้นกับเรา” อ่านเพิ่มเติมทางโค้ง..จบแบบสวยหรือสาหัส (ตอนที่ 1)
ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2564 ทางการประกาศ ทางเดินสู่ชัยชนะ เปิดประเทศ ใน 120 วัน นั่นก็คือใช้ชีวิตตามปกติ รวมถึงการท่องเที่ยวในประเทศและต่างประเทศและสำหรับพื้นที่จังหวัดท่องเที่ยวอาจจะเปิดเร็วขึ้นถ้าได้รับวัคซีนครบถ้วนเรียบร้อย อ่านเพิ่มเติมหมอธีระวัฒน์ หวั่นโควิดสายพันธุ์ไทยโผล่ เตือนรักษาตัว ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์สภากาชาดไทย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า วินัยสูงสุด อินเดีย แอฟริกาใต้ ถ้าระบาดกว่านี้ แน่นอน สายไทยกำเนิด อ่านเพิ่มเติม‘หมอธีระวัฒน์’ คอนเฟิร์มโควิดสายพันธุ์แอฟริกาใต้เข้าไทยแล้ว
ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ว่า อ่านเพิ่มเติม’’หมอธีระวัฒน์’’ย้ำโควิดแอฟริกาใต้คือมาเฟียตัวจริง ห่วงก่อกำเนิดสายพันธุ์ไทย
23 พ.ค. 2564 นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความในเพจเฟซบุ๊ก ระบุว่า ข่าวไม่ค่อยดี เจ้าพ่อตัวจริงๆโควิดสายแอฟริกาใต้มาแล้วสมทบสายอินเดียวัคซีนปูพรมต้องฉีดเร็วที่สุด มากที่สุด ด่วนที่สุด อ่านเพิ่มเติม“เกิดมาทั้งที ขอตายดีแล้วกัน” ประสบการณ์และมุมมองการดูแลคนไข้ของ พญ.รภัส สมะลาภา
แชร์ประสบการณ์และมุมมองการดูแลคนไข้ของแพทย์หญิงรภัส สมะลาภา จบการศึกษาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำงานใช้ทุนโรงพยาบาลชุมชน อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ปัจจุบันเรียนต่อแพทย์ประจำบ้านสาขาอายุรศาสตร์ชั้นปีที่ 3 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย อ่านเพิ่มเติมE-LEARNING
-
Parasitic infection of the nervous system
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 0
ดาวน์โหลด -
-
-
Therapeutic Plasma Exchange in CNS Inflammatory Demyelinating Disease
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 235
ดาวน์โหลด -
-
-
Clinicohistological approach in CNS infection
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 235
ดาวน์โหลด -
Parasitic & Protozoa infection in CNS
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 235
ดาวน์โหลด -
-
Neurologic Complications of Tuberculosis
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 235
ดาวน์โหลด -
-
Bacterial Meningitis • Viral Meningitis and Encephalitis • Brain Abscess • Spinal & Epidural Abscess • Tetanus, Botulism, Diptheria • SARS-CoV-2 (COVID-19)
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 235
ดาวน์โหลด -
Cryptococcus species • Aspergillus species • Candida species • Mucormycosis
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 235
ดาวน์โหลด -
DISEASE MODIFYING THERAPIES FOR MULTIPLE SCLEROSIS
File size : 4.00 Kb File type : .pdf ดาวน์โหลด : 235
ดาวน์โหลด -
-