RELATED ARTICLE
-
แนวทางการฟื้นฟูประเทศ จากวิกฤตการณ์โรคระบาดร้ายแรง (ตอนที่ 3)
ผู้มีอำนาจในการกำหนดนโยบาย การออกกฎหมายและการอนุมัติไม่ใช่บุคคลที่ทำงานด้านการวิจัยเกี่ยวกับโรคระบาด ไม่ทราบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จึงอาจให้ความสำคัญกับการพิจารณารายงานการวิจัยของต่างประเทศเป็นหลักโดยไม่มีความชัดเจนในการตีความหมาย -
ไขข้อสงสัยใส่หน้ากากเล่นสงกรานต์ รู้หรือไม่ "ไวรัสโควิด" ยังแพร่เชื้ออย่างเงียบๆ
Bubble and Seal ยังไม่สามารถหยุดยั้งการแพร่เชื้อได้ ไขคำตอบ ใส่หน้ากากเล่นสงกรานต์ทำได้จริงหรือ ฉีดวัคซีนไปแล้วก็ยังสามารถติดเชื้อและปล่อยเชื้อได้ -
จุลินทรีในลำไส้...ที่มาและที่จะไปต่อ (ตอนที่ 3)
อาหารการกินจนกระทั่งถึงประเภทของ prebiotic คือพืชผักผลไม้กากใย probiotic เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต จนกระทั่งถึงในรูปของยา และ synbiotic ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งปรับแต่งให้มีจุลินทรีย์ดีหลายชนิดจำนวนมากขึ้น มีจุดมุ่งหมายที่จะกั้นผนังลำไส้ไม่ให้รั่ว... -
ผลข้างเคียงวัคซีนซิโนแวค มีทางแก้ แต่หากเส้นเลือดหดเกร็งนานเสี่ยงพิการถาวร
“หมอดื้อ” ขยายความให้ความรู้กรณีผลข้างเคียงหลายคนหลังฉีดวัคซีนซิโนแวค เส้นเลือดเกร็งและหดตัว ชี้ มีทางแก้ แต่หากหดเกร็งนานเกินไปเสี่ยงพิการถาวร วันที่ 22 เม.ย. 2564 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แสดงความคิดเห็นและให้ความรู้ในเรื่องของวัคซีนโควิด-19 จากซิโนแวค ภายหลังมีผู้รับวัคซีนหลายคนเกิดผลข้างเคียง ผ่านเฟซบุ๊ก ในหัวข้อ “วัคซีนซิโนแวค..อุปสรรคที่แก้ไขได้” -
แนวทางการฟื้นฟูประเทศ จากวิกฤตการณ์โรคระบาดร้ายแรง (ตอนที่ 1)
คอลัมน์ บทสัมภาษณ์ความเห็นทางวิชาการ กองบรรณาธิการ วารสารจุลนิติ โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, แพทยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย