TRC-EID
RELATED NEWS
-
’’หมอธีระวัฒน์’’จี้รัฐฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนัง ยันผลทดสอบได้ผลดี ผลข้างเคียงต่ำกว่าการฉีดเข้ากล้าม10 เท่า
ทั้งนี้ประโยชน์ที่จะได้รับนั้นคือการที่จะสามารถประหยัดวัคซีนลงได้มหาศาล โดยเฉพาะในเรื่องของวัคซีนโควิด ซึ่งข้อมูลในปัจจุบันยืนยันกันแล้วว่าต้องสามารถฉีดให้ได้ 90% ของคนในพื้นที่หรือในประเทศภายในระยะเวลาอันสั้น นั่นคือไม่เกินสามเดือน ทั้งนี้ เพื่อไม่เปิดโอกาสให้ไวรัสมีการแพร่เป็นลูกโซ่ออกไปต่อ -
เมื่อ “ฟาวิพิราเวียร์” ดื้อยา
ในที่สุดความกังวลของผู้เชี่ยวชาญที่คาดการณ์ว่า หากมีการใช้ยารักษา COVID-19 อย่างไม่สมเหตุสมผล โดยเฉพาะยาต้านไวรัสที่ชื่อ “ฟาวิพิราเวียร์” (Favipiravir) เนื่องจากเป็นยาใหม่ที่อาจจะยังไม่มีข้อมูลการศึกษาทางวิชาการมากนัก ที่จะยืนยันการใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ -
ดร.สุภาภรณ์’’’’ นักเทคนิคการแพทย์ ผู้ถอดรหัสไวรัสโคโรนา เผยยังไม่พบเชื้อในค้างคาวไทย
ดร.สุภาภรณ์ วัชรพฤษาดี นักเทคนิคการแพทย์ รองหัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ที่เป็นผู้ตรวจพบและยืนยันเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ที่กำลังระบาดในขณะนี้ ก่อนที่จะมีการประกาศจากทางการจีน 2 วัน -
รวมวิธีกักตัวที่บ้านอย่างไร ป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่กระจายคนในครอบครัว
10 เมษายน 2564 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟชบุ๊กธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ระบุถึงการกักตัวที่บ้าน ซึ่งเป็นการโพสต์จากข้อความที่เคยโพสต์ก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2563 โดย ศ.นพ.ธีระวัฒน์ ระบุว่า เขียนเมื่อ 10/3/63 ไม่คิดว่าสถานการณ์ 9/3/64 จะเลวร้ายกว่าปีที่แล้ว -
การฉีดวัคซีน เข้าชั้นผิวหนัง
ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ประหลาดมหัศจรรย์ ในการนำวัคซีนทุกประเภทมาใช้ในการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง ทั้งนี้ ประโยชน์ที่จะได้รับนั้นคือการที่จะสามารถประหยัดวัคซีนลงได้มหาศาล โดยเฉพาะในเรื่องของวัคซีนโควิด ซึ่งข้อมูลในปัจจุบันยืนยันกันแล้วว่าต้องสามารถฉีดให้ได้ 90% ของคนในพื้นที่หรือในประเทศภายในระยะเวลาอันสั้น นั่นคือไม่เกินสามเดือน ทั้งนี้