‘หมอธีระวัฒน์’ ยันเสนอฉีดวัคซีนไขว้ยี่ห้อ หวังปิดจุดอ่อนซิโนแวค 2 เข็มที่ภูมิลดลงเร็ว
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ถึงกรณีการเสนอฉีดวัคซีนไขว้ยี่ห้อ ว่า ที่เราเสนอมีจุดประสงค์ปิดจุดอ่อนของซิโนแวค 2 เข็มที่ภูมิลดลงเร็ว และการติดในพวกเราแพร่ในผู้ป่วยที่เห็นล่าสุดคือที่ผู้ป่วยหลายรายติด จนแม้กลับบ้านไปแล้ว
ไขข้อข้องใจประสิทธิภาพ ’’วัคซีนไขว้’’
(ชมคลิปข่าวด้านล่าง) ไขข้อข้องใจประสิทธิภาพ ’’วัคซีนไขว้’’ ร่วมพูดคุยกับ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ รพ.จุฬาลงกรณ์
นวัตกรรม AI แม่นยำ รุกตรวจเชื้อโควิด-19
“คนไทย...ประเทศไทย” ต้องรอด เรียนรู้...สู้...อยู่กับไวรัส...“โควิด-19” ให้ได้ เมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนาวิธีการตรวจหาชิ้นส่วนของโปรตีนของโควิด-19
รวมวิธีกักตัวที่บ้านอย่างไร ป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่กระจายคนในครอบครัว
10 เมษายน 2564 ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟชบุ๊กธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ระบุถึงการกักตัวที่บ้าน ซึ่งเป็นการโพสต์จากข้อความที่เคยโพสต์ก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2563 โดย ศ.นพ.ธีระวัฒน์ ระบุว่า เขียนเมื่อ 10/3/63 ไม่คิดว่าสถานการณ์ 9/3/64 จะเลวร้ายกว่าปีที่แล้ว
รู้จัก "วัคซีนพาสปอร์ต" หนังสือเดินทางยุคโควิด-19
วัคซีนป้องกันโควิด–19 ถือเป็นความหวังของมนุษยชาติทั้งมวลเพื่อจะได้กลับมาดำเนินชีวิตอย่างปกติหรือใกล้ปกติให้มากที่สุด ทั้งนี้เพื่อให้เศรษฐกิจที่อยู่ในสภาวะล้มละลายกลับฟื้นคืนตัวได้โดยเร็ว