TRC-EID
ARTICLE
-
การวิจัยและพัฒนา.. "โรคอุบัติใหม่" (ตอนที่ 2)
การวิจัยและพัฒนาไปข้างหน้า ที่สำคัญต้องทราบที่มาว่ามีการศึกษาอะไรมาก่อน และไม่ทำซ้ำการวิจัยและพัฒนาไปข้างหน้าเกี่ยวกับการแพร่กระจายไวรัสข้ามสายพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตจากค้างคาวด้วยกันเอง จาก species หนึ่ง ไปยังคนละชนิด ลงมายังสัตว์บกเข้ามนุษย์ และจากมนุษย์กลับเข้าสู่สัตว์บกและเริ่มมีหลักฐานกลับเข้าสู่ค้างคาว เป็นเรื่องปกติของกำเนิดโรคอุบัติใหม่จากสัตว์สู่คน ทั้งนี้ เป็นที่ศึกษากันดีในไวรัสอาร์เอ็นเอ ตระกูล lyssavirus ถึงความสามารถที่ไวรัสจากค้างคาวจะลงไปยังสัตว์บกได้แตกต่างกัน เช่น red fox skunk raccoon เป็นต้น ในไวรัส genotype 1 อ่านเพิ่มเติม -
การวิจัยและพัฒนา.. "โรคอุบัติใหม่" (ตอนที่ 1)
“การวิจัย” และ “พัฒนา” ไปข้างหน้า ที่สำคัญต้องทราบที่มาว่ามีการศึกษาอะไรมาก่อน และไม่ทำซ้ำ การประเมินโรคใดโรคหนึ่ง เช่น โควิด-19 ต้องพิจารณาประกอบทั้งตัวเชื้อ ตัวคน ปัจจัยส่งเสริมที่เอื้ออำนวยให้มีการแพร่กระจาย และทำให้เกิดความรุนแรงมากกว่าธรรมดา ไม่ใช่ดูแต่สายพันธุ์อย่างเดียว เช่น ผู้ชายมีความเสี่ยงการติดเชื้อและเกิดความรุนแรงมากกว่าผู้หญิงที่ยังมีประจำเดือนอันเกี่ยวเนื่องกับฮอร์โมน ผู้ที่มีความผิดปกติทางสมองจะเป็นสมองเสื่อมหรือเป็นสมองเสื่อมแล้วเสี่ยงต่อการติดเชื้อง่ายกว่าและอาการรุนแรงกว่าและเมื่อหายแล้วภาวะสมองเสื่อมจะเลวร้ายลงมากผู้ที่มีความผิดปกติทางหัวใจ และพบมี soluble ACE2 มากจะสุ่มเสี่ยงสูงกว่า อ่านเพิ่มเติม -
เหตุผลสนับสนุนให้ยกเลิก การใช้ไกลโฟเซต (ตอนที่ 1)
ไกลโฟเซตเป็นสารเคมีกำจัดวัชพืช (herbicides) ชนิดไม่เลือกทำลาย ชื่อทางการค้าที่รู้จักมาก คือ ราวนด์อัพ (Roundup) ไกลโฟเซตมีชื่อวิทยาศาสตร์ตาม IUPAC ว่า N-(phosphono methyl glycine) สารไกลโฟเซตอาจอยู่ในลักษณะของผงหรือของเหลววิธีการใช้ไกลโฟเซตด้วยการฉีดพ่นและดูดซึมทางใบ หรือการฉีดเข้าที่ลำต้นของวัชพืช อ่านเพิ่มเติม -
พาราควอต (ตอนที่ 3)
นักวิทยาศาสตร์ของบริษัทซินเจนทา ประเทศอังกฤษ ได้เปิดเผยถึงกลไกการดื้อยา หรือการ ต้านทานฤทธิ์ของพาราควอตในพืชโดยเฉพาะกลุ่มวัชพืช (Hawkes, 2013) โดยการดูดซึมพาราควอตเข้าสู่เซลล์พืชนั้นจะเกิดควบคู่ไปกับสารในกลุ่มของพอลิอามีน และกลไกการดื้อยาของพืชที่มีต่อพาราควอตนี้อาจมาจากการเปลี่ยนแปลงของเมตาบอลิซึม อ่านเพิ่มเติม -
สุขภาพหรรษา : เหตุผลสนับสนุนให้ยกเลิก การใช้ไกลโฟเซต (ตอนที่ 1)
สุขภาพหรรษา : เหตุผลสนับสนุนให้ยกเลิก การใช้ไกลโฟเซต (ตอนที่ 1) อ่านเพิ่มเติม -