TRC-EID

NEWS

โควิด-19 ระลอก 3 ชุดใหญ่ไฟกระพริบ

ถึงเวลาแล้วที่ต้องยอมรับความจริงของสถานการณ์และต้องพึ่งตนเองให้มากที่สุด ทั้งนี้ ประเทศไทยไม่น่าจะเรียกว่าระลอกสี่ เพราะสามยังไม่ทันจบสิ้นและคนติดเชื้อลุกลามไปทั่วโดยยังควบคุมไม่ได้ เราคงไม่น่าเรียกสี่ เราคงเรียกระลอกสามภาคพิสดาร หรือที่เด็กๆที่ฝึกอบรมเป็นผู้เชี่ยวชาญทางสมองที่ทำงานอยู่ด้วยกันชอบเรียกกันว่าเป็นชุดใหญ่ไฟกะพริบมากกว่า

ดราม่า..น้ำตาเล็ด ยาโควิด-19

น้ำตาเล็ดในที่นี้ อาจจะเป็นในรูปโศกนาฏกรรมที่ไม่สามารถที่จะใช้ยาสมุนไพรหรือยาอื่นๆที่ปกติกำหนดให้ใช้ในโรคหรือสภาวะอื่น แต่ทั้งนี้กลไกน่าจะใช้ได้ในคนป่วยที่ติดเชื้อโควิดได้ แม้หลักฐานจะไม่ถึงกับครบถ้วนกระบวนความเต็ม 100 ก็ตาม

อะไรที่สะท้อนวิกฤติจริง

ดัชนีชี้วัดผลกระทบของโควิดมีผู้เชี่ยวชาญประเมินในทุกส่วนทุกภาคและทุกระดับทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งการลงทุนและอื่นๆอีกมากมาย

บันทึกหมอดื้อสู้โควิด โปรดอย่าได้หวาดกลัว

“เพื่อนส่งมาคิดว่าได้ประโยชน์และมีจุดที่กำลังหาเตียง วัด จุดพักคอย จุดคัดกรองข้อมูลเหล่านี้ เป็นประโยชน์ที่... จิตอาสาทำเพื่อจะได้หาความช่วยเหลือ ลองดูรอบๆบริเวณที่เราพัก...ที่เห็นจุดแดงๆคือคนที่ยังไม่ได้เตียง ที่อยู่ใกล้ๆพื้นที่เรา...กดที่จุดแดงแต่ละจุดจะมีรายละเอียดครับ”

โควิด มีแบบสั้น..จะเอายาวก็ได้

การทำให้เกิดโรคของน้องโควิดนี้มีได้แบบชนิดตอนเดียวจบ คือแบบสั้น ติดเชื้อแบบไม่มีอาการ แพร่ไปให้คนอื่นเสร็จแล้วเชื้อก็หายไปจากตัว หรือติดเชื้อและเกิดอาการเบา กลาง หนัก จนถึงเสียชีวิต

ปะทุสายพันธุ์เพี้ยน

เป็นที่ชัดเจนแน่ยิ่งกว่าแช่แป้งว่า น้องนุชสุดท้องโคโรนา โควิด-19 แปรผันผิดเพี้ยน เปลี่ยนหน้าเปลี่ยนตาจนเก่งกาจสามารถติดเชื้อได้เก่งแพร่กระจายได้จากหนึ่งไปถึงเกือบ 10 คน และแถมยังหลบลี้หนีจากกระบวนการต่อต้านภูมิคุ้มกันของมนุษย์ ตลอดจนภูมิที่สร้างจากวัคซีนหลากหลาย

โควิดจะจบลงตรงไหน แนวโน้มวิกฤติการระบาดของไทยหลังได้รับวัคซีน

จากวิกฤติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ระบาดอย่างหนักในประเทศไทย จนมีผู้ติดเชื้อรายวันทะลุ 2 หมื่นราย ตัวเลขผู้เสียชีวิตพุ่งเกิน 200 ศพต่อวัน หลายคนได้ฝากความหวังไว้ที่วัคซีนชนิด mRNA อย่าง วัคซีนของไฟเซอร์ และโมเดอร์นา ซึ่งเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา ประเทศไทย

‘หมอธีระวัฒน์’ ยันเสนอฉีดวัคซีนไขว้ยี่ห้อ หวังปิดจุดอ่อนซิโนแวค 2 เข็มที่ภูมิลดลงเร็ว

เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติ​ใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ถึงกรณีการเสนอฉีดวัคซีนไขว้ยี่ห้อ ว่า ที่เราเสนอมีจุดประสงค์ปิดจุดอ่อนของซิโนแวค 2 เข็มที่ภูมิลดลงเร็ว และการติดในพวกเราแพร่ในผู้ป่วยที่เห็นล่าสุดคือที่ผู้ป่วยหลายรายติด จนแม้กลับบ้านไปแล้ว

ไขข้อข้องใจประสิทธิภาพ ’’วัคซีนไขว้’’

(ชมคลิปข่าวด้านล่าง) ไขข้อข้องใจประสิทธิภาพ ’’วัคซีนไขว้’’ ร่วมพูดคุยกับ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ รพ.จุฬาลงกรณ์
CLICK TO VERIFY: This site uses a GlobalSign SSL Certificate to secure your personal information.